เนื้อหาของคอร์ส
ส่วนนำ
แนะนำการเรียนการสอน
0/1
บทที่ 1 แนะนำโปรแกรม Keeate
แนะนำการใช้งานพื้นฐานโปรแกรม Keene
0/2
บทที่ 2 เริ่มต้นสร้างแอพพลิเคชั่น
เริ่มต้นและเรียนรู้ขั้นตอนการทำแอพพลิเคชั่นเบื้องต้น
0/1
แบบทดสอบ
แบบทดสอบหลังเรียน
0/1
การสร้างแอปพลิเคชั่นด้วย keeate
เกี่ยวกับบทเรียน

Event Feature

  1. เข้าสู่เมนู “Event”

เพื่อเรียกจัดการ Event

  1. เข้าสู่หน้าหมวดหมู่ (Event Category)

คือส่วนของการแสดงหมวดหมู่ทั้งหมดที่มีในระบบ ซึ่งสามารถดำเนินการต่างๆได้ดังนี้

#1: ส่วนของการแก้ไข (Edit), ลบ (Delete), ปิดการใช้ (Disable)

#2: การเข้าจัดการข้อมูลในหมวดหมู่นั้นๆ (คลิกเพื่อไป 3. หน้าจัดการข้อมูล)

#3: การจัดลำดับหมวดหมู่ โดยต้องลากรายการไปยังตำแหน่งที่ต้องการจัดลำดับ

#4: การเพิ่มหมวดหมู่ข้อมูล

#5: การเลือกกรองข้อมูลสถานะของหมวดหมู่ซึ่งสามารถเลือกได้ 3 ประเภทได้แก่ เลือกดูแบบ ทั้งหมด (All Status), เลือกดูเฉพาะที่เปิดใช้งาน (Enable Status), เลือกดูเฉพาะที่ปิดการใช้งาน (Disable Status)

  1. หน้าจัดการข้อมูล เป็นส่วนของการแสดงรายการข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในหมวดหมู่ที่เลือกจัดการ ซึ่งสามารถดำเนินการต่างๆได้ดังนี้

#1: แสดงหมวดหมู่ที่กำลังดำเนินการ

#2: เมนูแก้ไขรายการข้อมูลแถวดังกล่าว

#3: ลบรายการข้อมูล

#4: กดเพื่อเปลี่ยนสถานะจาก การเปิดใช้ (Enable) เป็น ปิดใช้งาน (Disable) หรือเปลี่ยนสถานะ จาก ปิดใช้งาน (Disable) เป็น เปิดใช้งาน (Enable)

#5: ส่วนการก าหนดตำแหน่งสถานที่

#6: ส่วนของการกำหนดช่วงเวลา

#7: ส่วนของวันที่จัดอีเวนท์

#8: ส่วนของการแจ้งค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมหรือการเข้างานอีเวนท์

#9: ส่วนของการกำหนดชื่ออีเวนท์

#10: ส่วนการเพิ่มอีเวนท์ที่ต้องการ

#11: การเลือกกรองข้อมูลสถานะของข้อมูลซึ่งสามารถเลือกได้ 3 ประเภทได้แก่ เลือกดูแบบทั้งหมด (All Status), เลือกดูเฉพาะที่เปิดใช้งาน (Enable Status), เลือกดูเฉพาะที่ปิดการใช้งาน (Disable Status)

  1. แบบฟอร์มจัดการข้อมูล

เป็นส่วนที่ใช้เพิ่มและแก้ไขข้อมูล ซึ่งสามารถดำเนินการต่างๆได้ดังนี้

#1: กำหนดชื่ออีเวนท์

#2: กำหนดระยะวันที่เริ่มต้นการจัดอีเวนท์

#3: กำหนดระยะวันที่สิ้นสุดการจัดอีเวนท์

#4: กำหนดระยะเวลาเริ่มต้นการจัดอีเวนท์

#5: กำหนดระยะเวลาสิ้นสุดการจัดอีเวนท์

#6: กำหนดค่าบริการและค่าเข้างานอีเวนท์

#7: ใส่ลิงค์สำหรับลงทะเบียน (ถ้าต้องการ)

#8: กำหนดชื่อสถานที่จัดงาน

#9: กำหนด Latitude เพื่อยืนยันสถานที่ตั้งของร้านหรือบริษัท #10: ก˚าหนด Longitude เพื่อยืนยันสถานที่ตั้งของร้านหรือบริษัท

( จากรูปแสดงตำแหน่งที่กำหนดจุด สามารถเลื่อนตำแหน่งจุดได้โดยการลาก ) #11: กำหนดรายละเอียดเพิ่มเติม

#12: กำหนดหมวดหมู่

#13: ใส่ปกรูปภาพของอีเวนท์

#14: แสดงรูปภาพในลักษณะ fit mode ( รูปภาพนี้จะถูกแสดงใน Application ของคุณในลักษณะ

fit mode (ดูภาพแบบเต็มรูป ไม่ถูกตัดส่วนใดออก)

  1. วิธีการสร้างเมนูเพื่ออ้างอิงข้อมูลของ Event

สามารถทำได้ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

5.1 เข้าสู่เมนู “Application Design” ที่บริเวณมุมบนขวาของหน้าจอ

5.2 เลือก “Add Menu” ที่บริเวณด้านซ้ายของหน้าจอ

5.3 จะเข้าพบหน้าจอตามตัวอย่าง ซึ่งสามารถอธิบายได้ดังนี้

#1: เลือก Event

#2: ตั้งชื่อเมนูที่จะแสดงบนโมบายแอป

#3: ส่วนของการเลือกหมวดหมู่ที่ต้องการแสดงผล

#4: เลือกแสดงเมนูดังกล่าวบนระบบปฏิบัติการ iOS

#5: เลือกแสดงเมนูดังกล่าวบนระบบปฏิบัติการ Android

ไฟล์ตัวอย่าง
สอนใช้งานฟีเจอร์ Event.pdf
ขนาด: 1.68 MB
0% เสร็จสมบูรณ์