เนื้อหาของคอร์ส
ส่วนนำ
แนะนำการเรียนการสอน
0/1
บทที่ 1 แนะนำโปรแกรม Keeate
แนะนำการใช้งานพื้นฐานโปรแกรม Keene
0/2
บทที่ 2 เริ่มต้นสร้างแอพพลิเคชั่น
เริ่มต้นและเรียนรู้ขั้นตอนการทำแอพพลิเคชั่นเบื้องต้น
0/1
แบบทดสอบ
แบบทดสอบหลังเรียน
0/1
การสร้างแอปพลิเคชั่นด้วย keeate
เกี่ยวกับบทเรียน

Information Feature

  1. เข้าสู่เมนู“Information” เพื่อเรียกจัดการ Information Feature

  1. เข้าสู่หน้าหมวดหมู่(Category)

คือส่วนของการแสดงหมวดหมู่ทั้งหมดที่มีในระบบ ซึ่งสามารถดาเนินการต่างๆได้ดังนี้

#1: ส่วนของการแก้ไข (Edit), ลบ (Delete), ปิดการใช้ (Disable)

#2: การเข้าจัดการข้อมูลในหมวดหมู่นั้นๆ (คลิกเพื่อไป 3. หน้าจัดการข้อมูล)
#3: การจัดลาดับหมวดหมู่ โดยต้องลากรายการไปยังตาแหน่งที่ต้องการจัดลาดับ
#4: การเพิ่มหมวดหมู่ข้อมูล
#5: การเลือกกรองข้อมูลสถานะของหมวดหมู่ซึ่งสามารถเลือกได้ 3 ประเภทได้แก่ เลือกดูแบบ

ทั้งหมด (All Status), เลือกดูเฉพาะที่เปิดใช้งาน (Enable Status), เลือกดูเฉพาะที่ปิดการใช้งาน (Disable Status)

  1. หน้าจัดการข้อมูล

เป็นส่วนของการแสดงรายการข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในหมวดหมู่ที่เลือกจัดการ ซึ่งสามารถดาเนินการ ต่างๆได้ดังนี้

#1: แสดงหมวดหมู่ที่กาลังดาเนินการ
#2: เมนูแก้ไขรายการข้อมูลแถวดังกล่าว (คลิกเพื่อไป 4. แบบฟอร์มจัดการข้อมูล)
#3: ลบรายการข้อมูล
#4: ส่วนของการจัดการภาพประกอบ (นอกเหนือจากภาพหลัก)
#5: กดเพื่อเปลี่ยนสถานะจาก การเปิดใช้ (Enable) เป็น ปิดใช้งาน (Disable) หรือเปลี่ยนสถานะ

จาก ปิดใช้งาน (Disable) เป็น เปิดใช้งาน (Enable)
#6: ส่วนการจัดลาดับของข้อมูล โดยสามารถลากขึ้นลากลง
#7: การเพิ่มข้อมูล (คลิกเพื่อไป 4. แบบฟอร์มจัดการข้อมูล)
#8: การเลือกกรองข้อมูลสถานะของข้อมูลซึ่งสามารถเลือกได้ 3 ประเภทได้แก่ เลือกดูแบบทั้งหมด

(All Status), เลือกดูเฉพาะที่เปิดใช้งาน (Enable Status), เลือกดูเฉพาะที่ปิดการใช้งาน(Disable Status)

  1. แบบฟอร์มจัดการข้อมูล
    เป็นส่วนที่ใช้เพิ่มและแก้ไขข้อมูล ซึ่งสามารถดาเนินการต่างๆได้ดังนี้

#1: หัวข้อข้อมูล

#2: รายละเอียด
#3: รูปภาพหลัก
#4: การกาหนดการแสดงผลรูปภาพ โดยสามารถเลือก 2 Mode คือ Fit Image และแบบไม่Fit

Image
#5: เป็นการกาหนดรูปข้อมูลรายการดังกล่าวอยู่ในตาแหน่งแรกสุด (First Position) หรือ ตาแหน่ง

ท้ายสุด (Last Position) ของข้อมูล

  1. วิธีการสร้างเมนูเพื่ออ้างอิงข้อมูลของ Information Feature

สาหรับ Information Feature สามารถเลือกสร้างเมนูได้ 2 แบบดังนี้
A. SingleInformationเป็นการเข้าถึงข้อมูลใดๆทันทีเมื่อมีการกดปุ่มดังกล่าว B. Informationเป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบเป็นกลุ่ม

– กรณีเลือกหมวดหมู่เดียวจะแสดงกลุ่มข้อข้อมูลสาหรับหมวดหมู่นั้นๆ
– กรณีเลือกหมวดหมู่มากกว่า 1 จะเป็นการแสดงหมวดหมู่ทั้งหมดก่อน ถึงจะเข้าถึงข้อมูลใน

หมวดหมู่ที่เลือก โดยมีขั้นตอนการตั้งค่าดังนี้

5.1 เข้าสู่เมนู “Application Design” ที่บริเวณมุมบนขวาของหน้าจอ

5.2 เลือก “Add Menu” ที่บริเวณด้านซ้ายของหน้าจอ

5.3 จะเข้าพบหน้าจอตามตัวอย่าง ซึ่งสามารถอธิบายได้ดังนี้

#1: เลือก Feature ซึ่งสามารถเลือกใช้งานได้ 2 แบบได้แก่ “Single Information” และ“Information” #2: ตั้งชื่อเมนูที่จะแสดงบนโมบายแอพ

#3: ส่วนของการเลือกหมวดหมู่ที่ต้องการแสดงผล
#4: เลือกแสดงเมนูดังกล่าวบนระบบปฏิบัติการ iOS
#5: เลือกแสดงเมนูดังกล่าวบนระบบปฏิบัติการ Android

ไฟล์ตัวอย่าง
สอนใช้งานฟีเจอร์ Information.pdf
ขนาด: 775.86 KB
0% เสร็จสมบูรณ์