[page_header height=”153px” height__sm=”100px” margin=”0px” align=”center” title=”instruction video” title_case=”uppercase” bg=”3349″ bg_size=”original” bg_pos=”0% 46%” parallax=”3″]
[ux_video url=”https://youtu.be/0Xhsss75n60″]
[page_header height=”147px” height__sm=”22px” align=”center” depth=”1″ title=”การออกแบบ Sprite” bg=”3350″ bg_pos=”0% 36%” parallax=”3″]
ขั้นตอนแรกของการสร้างเกมคือการร่างภาพของวัตถุในเกมขึ้นมาเพื่อใช้ในการนำไปสร้างระบบเกมการเล่นต่างๆ ได้ง่ายขึ้น โดยการสร้างกราฟิกในช่วงแรกควรสร้างให้ครบตามจุดประสงค์เกม และไม่ควรจริงจัง และโฟกัสในส่วนนี้มากเกินไป แต่เมื่อตัวระบบของเกมมีความพร้อมแล้ว ส่วนขั้นตอนนี้จะเป็นส่วนที่สำคัญมากที่จะเพิ่มความน่าสนใจของเกม และการนำเสนอ การมีผู้รับผิดชอบส่วนนี้จะช่วยลดภาระงานของนักพัฒนาคนอื่นๆ ได้มาก
[ux_image_box img=”3356″ image_width=”61″ image_hover=”zoom”]ตัวอย่างหน้าต่างออกแบบภาพ Sprite
[/ux_image_box] [page_header height=”167px” height__sm=”21px” align=”center” title=”การสร้างวัตถุ และระบบเกม” bg=”3352″ parallax=”3″]ส่วนสำคัญที่สุดของเกมคือ Content, ระบบเกมการเล่น (Gameplay) และระบบต่างๆ ที่ใช้ควบคุมเกม (Mechanic) ในส่วนนี้จะมีการใช้เหตุผล ตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์ และความรู้ด้านการเขียนโปรแกรม
[ux_image_box img=”3357″ image_width=”75″ image_hover=”zoom”]ตัวอย่างการสร้างระบบเกมการเล่น ในส่วนการควบคุมตัวละคร
[/ux_image_box] [page_header height=”142px” height__sm=”0px” align=”center” title=”การสร้างพื้นที่การเล่น” bg=”3351″ parallax=”3″]นี่คือส่วนสุดท้ายก่อนการเริ่มทดลอง และนำเสนอ คือส่วนที่จะนำเอาวัตถุ ระบบต่างๆ มาจัดจัดวาง และทดลองหาข้อผิดพลาด นำไปแก้ไขปรับปรุงตั้งแต่ข้อ 1 จนกระเกมเสร็จสมบูรณ์
[ux_image_box img=”3355″ image_width=”71″ image_hover=”zoom”]